วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการอ่านเรื่องที่๒๗

วันที่ ๒๒ เดือน กุมภาพันธ์  พ .ศ. ๒๕๕๙
ที่มา : ดร.ปรียานุช ธรรมปิยา วิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐ กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
          พิมพ์ครั้งที่ ๑ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)  หน้า ๙๑ - ๑๒๔



ปรัชญาของเศนษฐกิจพอเพียง



      “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ความก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน คามเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพ้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและว้างขวางทั้งด้านวัตุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัตณธรรมตากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น